Select Page

วท.ม. สาขาวิชาการจัดการวิเคราะห์ข้อมูลและเทคโนโลยีข้อมูล (MADT)

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการวิเคราะห์ข้อมูลและเทคโนโลยีข้อมูล

การพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการวิเคราะห์ข้อมูลและเทคโนโลยีข้อมูล เพื่อสร้างบุคลากรที่มีความสามารถในการสร้างมูลค่าจากข้อมูล ด้วยความสามารถในด้านการจัดการวิเคราะห์ข้อมูลและเทคโนโลยีข้อมูล จึงมีความเกี่ยวข้องและตอบสนองต่อพันธกิจของสถาบัน คือ การมุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาที่มีภาวะผู้นา พัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และให้บริการวิชาการ ด้านการบริหารการพัฒนา เพื่อให้บุคลากรของประเทศมีศักยภาพเพียงพอในการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืน โดยเป้าประสงค์ของหลักสูตรนี้ คือ การมุ่งพัฒนามหาบัณฑิตที่มีความเข้าใจในการประยุกต์การวิเคราะห์ข้อมูลและเทคโนโลยีข้อมูล เพื่อให้สามารถสร้างมูลค่าจากข้อมูลได้จริง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ข้อมูลและเทคโนโลยีข้อมูลสมัยใหม่ที่ถูกต้อง รวมถึงมีภาวะผู้นา ความรับผิดชอบ และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างราบรื่น

แนวอาชีพ

  • ประธานผู้บริหารฝ่ายข้อมูล
  • ผู้จัดการวิทยาการข้อมูล
  • ผู้จัดการวิศวกรรมข้อมูล
  • ผู้ประสานงานด้านข้อมูล
  • ผู้จัดการด้านความเป็นส่วนตัวของข้อมูล
  • ผู้ประสานงานด้านธรรมาภิบาลข้อมูล
  • วิสาหกิจเริ่มต้น
  แผน ก2 ทำวิทยานิพนธ์ แผน ข ไม่ทำวิทยานิพนธ์
หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน ไม่นับหน่วยกิต ไม่นับหน่วยกิต
หมวดวิชาหลัก 15 หน่วยกิต 6 หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก (อย่างน้อย) 9 หน่วยกิต 18 หน่วยกิต
วิชาการค้นคว้าอิสระ 3 หน่วยกิต
สอบประมวลความรู้ สอบ สอบ
สอบปากเปล่า สอบ
วิทยานิพนธ์ (ผ่านการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์) 12 หน่วยกิต
รวมไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต 36 หน่วยกิต
(1) หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน หมายถึงวิชาที่มุ่งปรับความรู้ในระดับต่ำกว่าขั้นบัณฑิตศึกษาของนักศึกษาเพื่อให้พร้อมที่จะศึกษาในชั้นปริญญาโท ประกอบด้วย

สพ 4000 พื้นฐานสำหรับบัณฑิตศึกษา 3(3 – 0 – 6)
ภส 4001 การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา 3(3 – 0 – 6)
ภส 4002 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแบบบูรณาการ 3(3 – 0 – 6)
ภส 4011 การซ่อมเสริมการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิต 3(3 – 0 – 6)
ภส 4012 การซ่อมเสริมการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแบบบูรณาการ 3(3 – 0 – 6)
วขทข 4001 พื้นฐานการวิเคราะห์ข้อมูล 3(3 – 0 – 6)
วขทข 4002 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ 3(3 – 0 – 6)

หมายเหตุ         1. ข้อกำหนดและการยกเว้นการเรียนวิชาในหมวดวิชาเสริมพื้นฐาน  ให้เป็นไปตามประกาศของคณะ/สถาบัน  ยกเว้นข้อกำหนดและการยกเว้นการเรียนวิชาเสริมพื้นฐานภาษาอังกฤษของคณะภาษาและการสื่อสาร ให้เป็นไปตามเงื่อนไขของหลักสูตรวิชาภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา

  1. 2. ในกรณีที่มีการปรับปรุงหลักสูตรวิชาภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา การเรียนวิชาเสริมพื้นฐานภาษาอังกฤษที่กำหนดไว้ในหลักสูตรนี้จะต้องเปลี่ยนแปลงให้เป็นไปตามหลักสูตรวิชาภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษาที่ปรับปรุงใหม่ด้วย
  2. นักศึกษาภาคปกติกำหนดให้เรียนวิชาภาษาอังกฤษ 2 วิชา คือ ภส 4001 การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา และ ภส 4002 การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษแบบบูรณาการ นักศึกษาภาคพิเศษ กำหนดให้เรียนวิชาภาษาอังกฤษ 1 วิชา คือ วขทข 4002 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ
  3. นักศึกษาสามารถยกเว้นการเรียนวิชาเสริมพื้นฐาน วขทข 4001 พื้นฐานการวิเคราะห์ข้อมูล และ วขทข 4002 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารธุรกิจ ให้เป็นไปตามประกาศของคณะ

 

          (2) หมวดวิชาหลัก หมายถึงกลุ่มวิชาที่มุ่งให้นักศึกษามีความรู้ความชำนาญเฉพาะด้านประกอบด้วยวิชาต่อไปนี้ (กำหนดให้แผน ก2. และ แผน ข. เรียนวิชาในหมวดวิชาหลัก จำนวน 15 หน่วยกิต)

วขทข 6001 พื้นฐานการวิเคราะห์ธุรกิจ 3(3 – 0 – 6)
วขทข 6002 เทคโนโลยีข้อมูลพื้นฐาน 3(3 – 0 – 6)
วขทข 6003 วัฒนธรรมของผู้เชี่ยวชาญในการวิเคราะห์ข้อมูล 3(3 – 0 – 6)
วขทข 6004 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประยุกต์ในธุรกิจ 3(3 – 0 – 6)
วขทข 6005 การจัดการข้อมูลสมัยใหม่ 3(3 – 0 – 6)

          (3) หมวดวิชาเลือก แผน ก2 กำหนดให้เลือกเรียนอย่างน้อย 9 หน่วยกิต  แผน ข. กำหนดให้เลือกเรียนอย่างน้อย 18 หน่วยกิต นักศึกษาสามารถลงทะเบียนวิชาเลือกได้ตามความสนใจของนักศึกษา ทั้งนี้จะต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา

กลุ่มวิชาการวิเคราะห์ข้อมูล

วขทข 7101 ระบบรายงานทางธุรกิจขั้นสูง 3(3 – 0 – 6)
วขทข 7102 แบบจำลองข้อมูล การแปลงข้อมูล และการจัดการคุณภาพข้อมูล 3(3 – 0 – 6)
วขทข 7103 การประยุกต์ใช้งานและกรณีศึกษาด้านการวิเคราะห์ธุรกิจ 3(3 – 0 – 6)
วขทข 7104 การเปลี่ยนแปลงสู่ดิจิทัลด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล 3(3 – 0 – 6)

กลุ่มวิชาเทคโนโลยีข้อมูล

วขทข 7201 การออกแบบ พัฒนาและจัดการระบบคลาวด์ 3(3 – 0 – 6)
วขทข 7202 การจัดการการวิเคราะห์ข้อมูลเว็บและเครือข่ายสังคม 3(3 – 0 – 6)
วขทข 7203 ระบบความปลอดภัยของข้อมูลในศตวรรษที่ 21 3(3 – 0 – 6)
วขทข 7204 โปรแกรมประยุกต์จากข้อมูลขนาดใหญ่ 3(3 – 0 – 6)

กลุ่มวิชาสัมมนาและการศึกษาเฉพาะเรื่องทางการจัดการวิเคราะห์ข้อมูลและเทคโนโลยีข้อมูล

วขทข 8000 สัมมนาการจัดการวิเคราะห์ข้อมูลและเทคโนโลยีข้อมูล 3(3 – 0 – 6)
วขทข 8101-8109 การศึกษาเฉพาะเรื่องทางการจัดการวิเคราะห์ข้อมูลและเทคโนโลยีข้อมูล 3(3 – 0 – 6)

หมายเหตุ         1. นอกเหนือจากวิชาเลือกเสรีดังกล่าวแล้ว นักศึกษายังอาจเลือกเรียนวิชาเลือกเสรีจากหลักสูตรอื่นของสถาบันได้อีกตามความเหมาะสม ทั้งนี้ให้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของอาจารย์ที่ปรึกษา

  1. การจัดการเรียนการสอนในหมวดวิชาเลือกให้เป็นไปตามที่คณะและสถาบันกำหนด

          (5) หมวดวิชาการค้นคว้าอิสระ

วขทข 9000 การค้นคว้าอิสระ 3(0 – 0 – 12)

 

          (6) หมวดวิทยานิพนธ์

วขทข 9004 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต

ดาวน์โหลดเอกสาร

ELOs Levels of Educational Learning Outcomes in Bloom’s Taxonomy
ELO 1 ELO 1: ปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณของการประกอบวิชาชีพ ทำงานและตัดสินใจให้สอดคล้องกับประมวลพฤติกรรมและจริยธรรมในวิชาชีพ knowledge
ELO 2 ELO 2: เข้าใจหลักการ ทฤษฎี ความรู้ที่จำเป็นทางด้านการจัดการวิเคราะห์ข้อมูลและเทคโนโลยีข้อมูลสำหรับการเรียนรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต Comprehend
ELO 3 ELO 3: วิเคราะห์และประเมินปัญหาธุรกิจได้อย่างเป็นระบบ Application
ELO 4 ELO 4: แก้ไขปัญหาด้วยความคิดวิเคราะห์ และพัฒนาทางเลือกในการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม Analysis
ELO 5 ELO 5: มีทักษะในการสื่อสาร ภาวะความเป็นผู้นำ และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างราบรื่น Synthesis
ELO 6 ELO 6: ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ Evaluation

thTH